พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
สมเด็จญาณสังวรฯ...
สมเด็จญาณสังวรฯพระสังฆราช องค์ที่ 19 เนื้อเงิน ออกวัดเจดีย์หลวง ปี38 เนื้อเงิน
เหรียญสมเด็จพระสังฆราช รุ่น 600 ปี วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2538 เนื้อเงิน หนา 3 มม สภาพสวย ตลับเดิม
เหรียญสมเด็จพระสังฆราช รุ่น 600 ปี วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อเงิน ด้านหน้าพระรูปสมเด็จฯ ด้านหลังตราสัญลักษณ์ประจำพระองค์ ญสส. เหรียญหนา น่าสะสมมาก ไม่ควรพลาด สำหรับสายตรงทางนี้

จำนวนสร้างประกอบด้วย

1. เนื้อทองคำ

2. เนื้อนวะ สร้างน้อยมากครับ เพียง 300 เหรียญ

3. เนื้อเงิน

4. ทองแดงกะไหล่ทอง

5.ทองแดง

ในคราวงานสมโภช 600 ปี เจดีย์หลวง ได้มีการจัดสร้างเหรียญที่ระลึกขึ้น เป็นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ขึ้นมา ซึ่งออกแบบแกะลวดลายได้อย่างสวยงามมาก เป็นเหรียญที่มีความหนาถึง 3 มิลลิเมตร ที่ขอบเหรียญมีการตอกอักษรไว้ว่า "600ปี วัดเจดีย์หลวง จ.เชียง ใหม่"

เป็น "เหรียญดี" น่าเก็บสะสมยิ่ง ทั้งอายุการสร้างที่ผ่านมา 10กว่าปี ความงดงามของเหรียญ ทั้งพิธีการสร้างที่นับว่าอลังการเป็นอย่างที่สุด ได้ทำพิธีพุทธาภิเษกและสมโภช เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2538 ณ วัดเจดีย์หลวง มีพระเกจิอาจารย์ 600 รูป ร่วมพิธี โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ทรงเป็นประธานในพิธี พระเกจิอาจารย์ที่นับว่าโดดเด่น เช่น หลวงพ่อเปิ่น วัดกลางบางพระ จังหวัดนครปฐม หลวงปู่ทิม วัดพระขาว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี และยังมีหลวงพ่อวิริยังค์, หลวงปู่ท่อน, หลวงปู่แว่น,ครูบาน้อย, ครูบาเทือง, หลวงปู่คำพันธ์

ประวัติวัดเจดีย์หลวง มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ ราช กุฏาคาร,วัดโชติการาม มีพระเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายแด่พญากือนา พระราชบิดา แต่ไม่ปรากฏปีที่สร้างแน่ชัด แต่สันนิษฐานกันว่าวัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ.1934 หากสร้างไม่ทันเสร็จก็สิ้นพระชนม์เสียก่อน พระมเหสีได้ควบคุมการก่อสร้างต่อมาจนแล้วเสร็จในรัชสมัยพญาสามฝั่งแกน เรียกกันว่า กู่หลวง แต่ครั้งนั้นสร้างไม่สูงใหญ่เท่าใดนัก

ในรัชสมัยพญาติโลกราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้หมื่นด้ามพร้าคตเป็นนายช่างใหญ่ ดำเนินการซ่อมเสริมสร้างต่อสูงถึง 45 วา แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่มุขด้านตะวันออกขององค์เจดีย์ เป็นระยะเวลานานถึง 80 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ.2011-2091 หากแต่ในปี พ.ศ.2088 ในสมัยพระมหาเทวีจิรประภา ยอดเจดีย์หลวงได้หักลงมา เนื่องเพราะเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่

ในปี พ.ศ.2533-2535 กรมศิลปากรได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เจดีย์หลวงขึ้น นอกจากนี้ วัดเจดีย์หลวงยังเป็นที่ตั้งของเสาอินทขีล ซึ่งเดิมตั้งอยู่ที่วัดสะดือเมือง เมื่อสมัยพระเจ้ากาวิละฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายเสาอินทขีลมาไว้ที่วัดเจดีย์หลวง พร้อมกับสร้างวิหารครอบและปลูกต้นยางคู่ไว้ข้างวิหาร กับสร้างยักษ์ 2 ตนให้เฝ้ารักษาเสาอินทขีล

ข้อมูลเพิ่มเติม:

คอลัมน์.."มุมพระเก่า"
จากหนังสือพิมพ์ :ข่าวสด.เมื่อ : 10 พ.ค. 2551
โดย...สรพล โศภิตกุล.....

*** มีเหรียญพระเครื่อง "เหรียญดี" เหรียญหนึ่งมาแนะนำ เป็นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นในคราวสมโภชน์ 600 ปี พระธาตุเจดีย์หลวง วัดพระเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่

วัดเจดีย์หลวง มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ ราชกุฏาคาร, วัดโชติการาม มีพระเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายแด่พญากือนา พระราชบิดา แต่ไม่ปรากฏปีที่สร้างแน่ชัด แต่สันนิษฐานกันว่า วัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ.1934 หากสร้างไม่ทันเสร็จก็สิ้นพระชนม์เสียก่อน พระมเหสีได้ควบคุมการก่อสร้างต่อมาจนแล้วเสร็จในรัชสมัยพญาสามฝั่งแกน เรียกกันว่า กู่หลวง แต่ครั้งนั้นสร้างไม่สูงใหญ่เท่าใดนัก

ในรัชสมัยพญาติโลกราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้หมื่นด้ามพร้าคต เป็นนายช่างใหญ่ดำเนินการซ่อมเสริมสร้างต่อสูงถึง 45 วา แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่มุขด้านตะวันออกขององค์เจดีย์ เป็นระยะเวลานานถึง 80 ปี คือระหว่างปี พ.ศ.2011-2091 หากแต่ในปี พ.ศ.2088 ในสมัยพระมหาเทวีจิรประภา ยอดเจดีย์หลวงได้หักลงมา เนื่องเพราะเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่

ในปี พ.ศ.2533-2535 กรมศิลปากรได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เจดีย์หลวงขึ้น นอกจากนี้ วัดเจดีย์หลวงยังเป็นที่ตั้งของเสาอินทขีล ซึ่งเดิมตั้งอยู่ที่วัดสะดือเมือง เมื่อสมัยพระเจ้ากาวิละฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายเสาอินทขีลมาไว้ที่วัดเจดีย์หลวง พร้อมกับสร้างวิหารครอบและปลูกต้นยางคู่ไว้ข้างวิหาร กับสร้างยักษ์ 2 ตนให้เฝ้ารักษาเสาอินทขีล

ในคราวงานสมโภช 600 ปี เจดีย์หลวง ได้มีการจัดสร้างเหรียญที่ระลึกขึ้น เป็นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชขึ้นมา ซึ่งออกแบบแกะลวดลายได้อย่างสวยงามมาก เป็นเหรียญที่มีความหนาถึง 3 มิลลิเมตร ที่ขอบเหรียญมีการตอกอักษรไว้ว่า "600 ปี วัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่" เป็น "เหรียญดี" น่าเก็บสะสมยิ่ง ทั้งอายุการสร้างที่ผ่านมา 10 กว่าปี ความงดงามของเหรียญ ทั้งพิธีการสร้างที่นับว่าอลังการอย่างที่สุด ได้ทำพิธีพุทธาภิเษกและสมโภช เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2538 ณ วัดเจดีย์หลวง มีพระเกจิอาจารย์ 600 รูป ร่วมพิธี โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ทรงเป็นประธานในพิธี และมีพระเกจิอาจารย์ที่ร่วมในพิธีที่นับว่าโดดเด่น อาทิเช่น:

-หลวงพ่อเปิ่น วัดกลางบางพระ จังหวัดนครปฐม
-หลวงปู่ทิม วัดพระขาว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
-หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
-หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี
-หลวงพ่อวิริยังค์,
-หลวงปู่ท่อน,
-หลวงปู่แว่น,
-ครูบาน้อย,
-ครูบาเทือง,
-หลวงปู่คำพันธ์
ครบเครื่องเรื่องปลุกเสก อย่างไม่ต้องตัดต่อภาพโฆษณากัน

ความเป็นเหรียญดีที่ว่านี้ หมายถึง..เจตจำนงของการสร้างนั้นดี มวลสารครบถ้วน กระทั่งพิธีการเข้มขลัง เมื่อครบถ้วนกระบวนการเช่นนี้ ย่อมเป็นวัตถุมงคลที่ดี เช่นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ

"มุมพระเก่า"
สรพล โศภิตกุล

ที่มาจากหนังสือพิมพ์ :ข่าวสด
โพสต์เมื่อ : 2008-05-10, 10:50
ผู้เข้าชม
116 ครั้ง
ราคา
1200
สถานะ
มาใหม่
ชื่อร้าน
อี๋ พรจามรี พระกรรมฐานแดนล้านนา
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
aee2523
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 390-0-97215-3

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ยุ้ย พลานุภาพvanglannaน้ำตาลแดงgorn9เทพจิระพระเครื่องโคกมน
Zomlazzaliบ้านพระหลักร้อยLe29Amuletบ้านพระสมเด็จSpidermanstp253
แมวดำ99Muthitaเธียรภูมิ IRsomemantumlawyer
จุก พยัคฆ์ดำchaithawatพระดี46jochoAmuletMansomphop
อี๋ ล็อคเกตdigitalplusบารมีครูบาชัยวงศ์น้อยชัยยันต์termboonPongpasin

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1365 คน

เพิ่มข้อมูล

สมเด็จญาณสังวรฯพระสังฆราช องค์ที่ 19 เนื้อเงิน ออกวัดเจดีย์หลวง ปี38 เนื้อเงิน




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
สมเด็จญาณสังวรฯพระสังฆราช องค์ที่ 19 เนื้อเงิน ออกวัดเจดีย์หลวง ปี38 เนื้อเงิน
รายละเอียด
เหรียญสมเด็จพระสังฆราช รุ่น 600 ปี วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2538 เนื้อเงิน หนา 3 มม สภาพสวย ตลับเดิม
เหรียญสมเด็จพระสังฆราช รุ่น 600 ปี วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อเงิน ด้านหน้าพระรูปสมเด็จฯ ด้านหลังตราสัญลักษณ์ประจำพระองค์ ญสส. เหรียญหนา น่าสะสมมาก ไม่ควรพลาด สำหรับสายตรงทางนี้

จำนวนสร้างประกอบด้วย

1. เนื้อทองคำ

2. เนื้อนวะ สร้างน้อยมากครับ เพียง 300 เหรียญ

3. เนื้อเงิน

4. ทองแดงกะไหล่ทอง

5.ทองแดง

ในคราวงานสมโภช 600 ปี เจดีย์หลวง ได้มีการจัดสร้างเหรียญที่ระลึกขึ้น เป็นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ขึ้นมา ซึ่งออกแบบแกะลวดลายได้อย่างสวยงามมาก เป็นเหรียญที่มีความหนาถึง 3 มิลลิเมตร ที่ขอบเหรียญมีการตอกอักษรไว้ว่า "600ปี วัดเจดีย์หลวง จ.เชียง ใหม่"

เป็น "เหรียญดี" น่าเก็บสะสมยิ่ง ทั้งอายุการสร้างที่ผ่านมา 10กว่าปี ความงดงามของเหรียญ ทั้งพิธีการสร้างที่นับว่าอลังการเป็นอย่างที่สุด ได้ทำพิธีพุทธาภิเษกและสมโภช เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2538 ณ วัดเจดีย์หลวง มีพระเกจิอาจารย์ 600 รูป ร่วมพิธี โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ทรงเป็นประธานในพิธี พระเกจิอาจารย์ที่นับว่าโดดเด่น เช่น หลวงพ่อเปิ่น วัดกลางบางพระ จังหวัดนครปฐม หลวงปู่ทิม วัดพระขาว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี และยังมีหลวงพ่อวิริยังค์, หลวงปู่ท่อน, หลวงปู่แว่น,ครูบาน้อย, ครูบาเทือง, หลวงปู่คำพันธ์

ประวัติวัดเจดีย์หลวง มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ ราช กุฏาคาร,วัดโชติการาม มีพระเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายแด่พญากือนา พระราชบิดา แต่ไม่ปรากฏปีที่สร้างแน่ชัด แต่สันนิษฐานกันว่าวัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ.1934 หากสร้างไม่ทันเสร็จก็สิ้นพระชนม์เสียก่อน พระมเหสีได้ควบคุมการก่อสร้างต่อมาจนแล้วเสร็จในรัชสมัยพญาสามฝั่งแกน เรียกกันว่า กู่หลวง แต่ครั้งนั้นสร้างไม่สูงใหญ่เท่าใดนัก

ในรัชสมัยพญาติโลกราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้หมื่นด้ามพร้าคตเป็นนายช่างใหญ่ ดำเนินการซ่อมเสริมสร้างต่อสูงถึง 45 วา แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่มุขด้านตะวันออกขององค์เจดีย์ เป็นระยะเวลานานถึง 80 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ.2011-2091 หากแต่ในปี พ.ศ.2088 ในสมัยพระมหาเทวีจิรประภา ยอดเจดีย์หลวงได้หักลงมา เนื่องเพราะเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่

ในปี พ.ศ.2533-2535 กรมศิลปากรได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เจดีย์หลวงขึ้น นอกจากนี้ วัดเจดีย์หลวงยังเป็นที่ตั้งของเสาอินทขีล ซึ่งเดิมตั้งอยู่ที่วัดสะดือเมือง เมื่อสมัยพระเจ้ากาวิละฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายเสาอินทขีลมาไว้ที่วัดเจดีย์หลวง พร้อมกับสร้างวิหารครอบและปลูกต้นยางคู่ไว้ข้างวิหาร กับสร้างยักษ์ 2 ตนให้เฝ้ารักษาเสาอินทขีล

ข้อมูลเพิ่มเติม:

คอลัมน์.."มุมพระเก่า"
จากหนังสือพิมพ์ :ข่าวสด.เมื่อ : 10 พ.ค. 2551
โดย...สรพล โศภิตกุล.....

*** มีเหรียญพระเครื่อง "เหรียญดี" เหรียญหนึ่งมาแนะนำ เป็นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นในคราวสมโภชน์ 600 ปี พระธาตุเจดีย์หลวง วัดพระเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่

วัดเจดีย์หลวง มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ ราชกุฏาคาร, วัดโชติการาม มีพระเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายแด่พญากือนา พระราชบิดา แต่ไม่ปรากฏปีที่สร้างแน่ชัด แต่สันนิษฐานกันว่า วัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ.1934 หากสร้างไม่ทันเสร็จก็สิ้นพระชนม์เสียก่อน พระมเหสีได้ควบคุมการก่อสร้างต่อมาจนแล้วเสร็จในรัชสมัยพญาสามฝั่งแกน เรียกกันว่า กู่หลวง แต่ครั้งนั้นสร้างไม่สูงใหญ่เท่าใดนัก

ในรัชสมัยพญาติโลกราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้หมื่นด้ามพร้าคต เป็นนายช่างใหญ่ดำเนินการซ่อมเสริมสร้างต่อสูงถึง 45 วา แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่มุขด้านตะวันออกขององค์เจดีย์ เป็นระยะเวลานานถึง 80 ปี คือระหว่างปี พ.ศ.2011-2091 หากแต่ในปี พ.ศ.2088 ในสมัยพระมหาเทวีจิรประภา ยอดเจดีย์หลวงได้หักลงมา เนื่องเพราะเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่

ในปี พ.ศ.2533-2535 กรมศิลปากรได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เจดีย์หลวงขึ้น นอกจากนี้ วัดเจดีย์หลวงยังเป็นที่ตั้งของเสาอินทขีล ซึ่งเดิมตั้งอยู่ที่วัดสะดือเมือง เมื่อสมัยพระเจ้ากาวิละฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายเสาอินทขีลมาไว้ที่วัดเจดีย์หลวง พร้อมกับสร้างวิหารครอบและปลูกต้นยางคู่ไว้ข้างวิหาร กับสร้างยักษ์ 2 ตนให้เฝ้ารักษาเสาอินทขีล

ในคราวงานสมโภช 600 ปี เจดีย์หลวง ได้มีการจัดสร้างเหรียญที่ระลึกขึ้น เป็นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชขึ้นมา ซึ่งออกแบบแกะลวดลายได้อย่างสวยงามมาก เป็นเหรียญที่มีความหนาถึง 3 มิลลิเมตร ที่ขอบเหรียญมีการตอกอักษรไว้ว่า "600 ปี วัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่" เป็น "เหรียญดี" น่าเก็บสะสมยิ่ง ทั้งอายุการสร้างที่ผ่านมา 10 กว่าปี ความงดงามของเหรียญ ทั้งพิธีการสร้างที่นับว่าอลังการอย่างที่สุด ได้ทำพิธีพุทธาภิเษกและสมโภช เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2538 ณ วัดเจดีย์หลวง มีพระเกจิอาจารย์ 600 รูป ร่วมพิธี โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ทรงเป็นประธานในพิธี และมีพระเกจิอาจารย์ที่ร่วมในพิธีที่นับว่าโดดเด่น อาทิเช่น:

-หลวงพ่อเปิ่น วัดกลางบางพระ จังหวัดนครปฐม
-หลวงปู่ทิม วัดพระขาว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
-หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
-หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี
-หลวงพ่อวิริยังค์,
-หลวงปู่ท่อน,
-หลวงปู่แว่น,
-ครูบาน้อย,
-ครูบาเทือง,
-หลวงปู่คำพันธ์
ครบเครื่องเรื่องปลุกเสก อย่างไม่ต้องตัดต่อภาพโฆษณากัน

ความเป็นเหรียญดีที่ว่านี้ หมายถึง..เจตจำนงของการสร้างนั้นดี มวลสารครบถ้วน กระทั่งพิธีการเข้มขลัง เมื่อครบถ้วนกระบวนการเช่นนี้ ย่อมเป็นวัตถุมงคลที่ดี เช่นเหรียญปั๊มรูปเหมือนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ

"มุมพระเก่า"
สรพล โศภิตกุล

ที่มาจากหนังสือพิมพ์ :ข่าวสด
โพสต์เมื่อ : 2008-05-10, 10:50
ราคาปัจจุบัน
1200
จำนวนผู้เข้าชม
117 ครั้ง
สถานะ
มาใหม่
โดย
ชื่อร้าน
อี๋ พรจามรี พระกรรมฐานแดนล้านนา
URL
เบอร์โทรศัพท์
0816719296
ID LINE
aee2523
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 390-0-97215-3




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี